มะยม สักเม็ด คลายเครียด แก้ง่วง ชัวร์
Tuesday, November 20, 2012
Posted by Unknown on 2:49 PM
with No comments so far
เอามะยมเงิน มะยมทองที่บ้านมาโชว์กับเขาบ้างครับมีอะไรแนะนำเชิญนะครับ
อีกรูป
อีกรูป
ต่อ
ต่อ
ต่อ
ต่อ
ต่อ
ต่อ
อีกรูป
อีกรูป
ต่อ
ต่อ
ต่อ
ต่อ
ต่อ
ต่อ
Posted by Unknown on 6:15 AM
with No comments so far
จั่วหัวเป็นแม่ค้า ตะโกนขายของที่ท่าพระจันทร์ ก็ช่วงนี้ เหลือบตาไปมองต้นมะยมหน้าบ้าน ออกลูก
เต็มต้น จนกิ่งโน้ม มองไปมองมาหลาย ๆ วันก็เสียดาย หลังจากใส่บาตรพระตอนเช้าแล้ว ก็ได้แต่
เหล่ ๆ ตามองมะยม สองสามปีก่อน ออกมาไม่มาก เลยเก็บมาเขวี้ยงเล่น กินก็กินไม่ไหว เปรี้ยว
เหลือหลาย แม่ยายก้อ มีมาเก็บไปตำกินบ้าน แต่รอบนี้ เยอะจัดจริงๆ ครับ เลยไปค้น ๆ ในเวบว่า
มีทางเอาไปทำอะไรได้บ้าง ก็ได้ผลครับ หวยมาออกที่มะยมดอง กะมะยมเชื่อม อย่ากระนั้นเลย
ลองทำดูซักตั้ง เผื่อได้ ของมาวางขายในร้านทองเพิ่ม นอกเหนือจากลุ้นราคา futures กะ chat
ให้หมดไปวัน ๆ
เริ่มจากเก็บมะยมมาล้างฝุ่นให้สะอาดครับ เม็ดเล็ก ๆ ก็เก็บทิ้งไป เม็ดที่โดนแมลงเจาะหรือหนอนไช
ก็ทิ้ง ๆ ๆ ๆ เหลือแต่เม็ดอวบ ๆ สวย ๆ ล้างน้ำให้สะอาด เอามาเกลี่ย ๆ บนถาด หยิบเอาไม้ตีพริก
ก็สากน่ะครับ สากไ้ม้นะ คลึง ๆ เม็ดมะยมพอให้ผิวแตก ๆ มีน้ำซึม ๆ ออกมาบ้างเปนใช้ได้ ก็เอามา
ใส่ชามเทน้ำปูนใสลงไปแช่ไว้ แต่เช้าเลย ระหว่างวัน ไม่ต้องทำอะไร ไปขายของ ตามปรกติ
พอเย็นปิดร้านเรียบร้อย ก็เอาชามสะเตนเลส มาตั้งเตาหัวเล็กสุด ใส่น้ำลงไปนิดหน่อย ตามด้วยโซเดียม
คลอไรด์ สงสัยละสิ ก็ไอ้ที่คุณแม่บ้านเอาไปโรยไข่ให้คุณพ่อบ้านตอนเช้า ๆ น่ะครับ (อย่าตอบว่าแป้ง
แบบรายการแม่บ้านสมองไวล่) ลงไปนิดหน่อยประมาณ ครึ่งช้อนกินข้าว ตามด้วยน้ำตาลทราย ขาว ขอย้ำ
ขาวนะครับ เพื่อจะได้สีที่สวยงามไม่คล้ำ ลงไปสักแปดขีด แล้วคน ๆ ๆ ให้ละลายบนเตา
ระหว่างที่คนบ้าง รอให้น้ำเชื่อมเดือด ก้อ ล้างมะยมอีกรอบ เทน้ำปูนใสที่แช่ไว้ทิ้ง ล้างให้สะอาดสักสองรอบ
พักไว้ในชาม รอน้ำเชื่อมร้อนจนเดือด น้ำตาล และเกลือละลายดีแล้ว ก้อบรรจง โกยมะยมลงชามน้ำเชื่อมที่
กำลังได้ที่ครับ
หลังจากนั้นก้อรอจนเดือดอีกรอบ ก้อหรี่ไฟ ปล่อยให้เคี่ยวไปเรื่อย ๆ คอยกดเม็ดที่ลอยลงไปในน้ำเชื่อม หรือคน
ตักข้างล่างเปลี่ยนขึ้นมาข้างบนบ้าง แต่อย่าบ่อยล่ะ เดวเละหมด ใจเย็น ๆครับ นี่น้ำเชื่อมเดือดละ
ปล่อยให้เวลาผ่านไปช้า ๆ จาก นาที ก็กลายเป็น สามสิบนาที ก็เริ่มปรากฎ ผล
มะยมจะเริ่มใส สีจะเริ่มเข้ม อย่าสนใจ เคี่ยวต่อไปเรื่อย ๆ สี่ห้านาทีก้อ คนพลิกเอาข้างล่างขึ้นมาที
เบา ๆ นะครับ เดวเละกลายเปนมะยมกวนไปซะเปล่า ๆ จนได้แบบนี้
ยังครับ ไม่หนำใจ เอาอีก เคี่ยวต่อไปอีก
จนได้ที่เห็นว่า เม็ดใสฉ่ำทั่วเม็ด เริ่มออกแดงระเรื่อแล้ว ก็ จัดการ ราไฟ ตักเอาเม็ดออกมาพักไว้ที่หม้อ
แยกน้ำแยกเนื้อ
น้ำเชื่อมที่เหลือ อย่าทิ้งนะครับ ของอร่อยเลย จัดการ ทุบน้ำแข็งใส่แก้ว ตักน้ำเชื่อมใส่สักสองช้อนกินข้าว
เติมด้วยน้ำเย็นให้เต็มแก้ว คนให้เข้ากัน จะได้น้ำมะยม หวานเปรี้ยวเค็มปะเล่ม ๆ อร่อยมาก ๆ ขอบอก จิบ
เล่น ๆ เย็นชื่นใจ ส่วนเม็ดมะยมที่เชื่อมและทิ้งให้เย็นแล้ว ก็เปนแบบนี้ครับ
มาครับ มาหยิบไปกินกันคนละเม็ดสองเม็ด ไม่ต้องเกรงใจป๋มครับ กินรอ ทองขึ้น ฮ่าฮ่าฮ่า
เต็มต้น จนกิ่งโน้ม มองไปมองมาหลาย ๆ วันก็เสียดาย หลังจากใส่บาตรพระตอนเช้าแล้ว ก็ได้แต่
เหล่ ๆ ตามองมะยม สองสามปีก่อน ออกมาไม่มาก เลยเก็บมาเขวี้ยงเล่น กินก็กินไม่ไหว เปรี้ยว
เหลือหลาย แม่ยายก้อ มีมาเก็บไปตำกินบ้าน แต่รอบนี้ เยอะจัดจริงๆ ครับ เลยไปค้น ๆ ในเวบว่า
มีทางเอาไปทำอะไรได้บ้าง ก็ได้ผลครับ หวยมาออกที่มะยมดอง กะมะยมเชื่อม อย่ากระนั้นเลย
ลองทำดูซักตั้ง เผื่อได้ ของมาวางขายในร้านทองเพิ่ม นอกเหนือจากลุ้นราคา futures กะ chat
ให้หมดไปวัน ๆ
เริ่มจากเก็บมะยมมาล้างฝุ่นให้สะอาดครับ เม็ดเล็ก ๆ ก็เก็บทิ้งไป เม็ดที่โดนแมลงเจาะหรือหนอนไช
ก็ทิ้ง ๆ ๆ ๆ เหลือแต่เม็ดอวบ ๆ สวย ๆ ล้างน้ำให้สะอาด เอามาเกลี่ย ๆ บนถาด หยิบเอาไม้ตีพริก
ก็สากน่ะครับ สากไ้ม้นะ คลึง ๆ เม็ดมะยมพอให้ผิวแตก ๆ มีน้ำซึม ๆ ออกมาบ้างเปนใช้ได้ ก็เอามา
ใส่ชามเทน้ำปูนใสลงไปแช่ไว้ แต่เช้าเลย ระหว่างวัน ไม่ต้องทำอะไร ไปขายของ ตามปรกติ
พอเย็นปิดร้านเรียบร้อย ก็เอาชามสะเตนเลส มาตั้งเตาหัวเล็กสุด ใส่น้ำลงไปนิดหน่อย ตามด้วยโซเดียม
คลอไรด์ สงสัยละสิ ก็ไอ้ที่คุณแม่บ้านเอาไปโรยไข่ให้คุณพ่อบ้านตอนเช้า ๆ น่ะครับ (อย่าตอบว่าแป้ง
แบบรายการแม่บ้านสมองไวล่) ลงไปนิดหน่อยประมาณ ครึ่งช้อนกินข้าว ตามด้วยน้ำตาลทราย ขาว ขอย้ำ
ขาวนะครับ เพื่อจะได้สีที่สวยงามไม่คล้ำ ลงไปสักแปดขีด แล้วคน ๆ ๆ ให้ละลายบนเตา
ระหว่างที่คนบ้าง รอให้น้ำเชื่อมเดือด ก้อ ล้างมะยมอีกรอบ เทน้ำปูนใสที่แช่ไว้ทิ้ง ล้างให้สะอาดสักสองรอบ
พักไว้ในชาม รอน้ำเชื่อมร้อนจนเดือด น้ำตาล และเกลือละลายดีแล้ว ก้อบรรจง โกยมะยมลงชามน้ำเชื่อมที่
กำลังได้ที่ครับ
หลังจากนั้นก้อรอจนเดือดอีกรอบ ก้อหรี่ไฟ ปล่อยให้เคี่ยวไปเรื่อย ๆ คอยกดเม็ดที่ลอยลงไปในน้ำเชื่อม หรือคน
ตักข้างล่างเปลี่ยนขึ้นมาข้างบนบ้าง แต่อย่าบ่อยล่ะ เดวเละหมด ใจเย็น ๆครับ นี่น้ำเชื่อมเดือดละ
ปล่อยให้เวลาผ่านไปช้า ๆ จาก นาที ก็กลายเป็น สามสิบนาที ก็เริ่มปรากฎ ผล
มะยมจะเริ่มใส สีจะเริ่มเข้ม อย่าสนใจ เคี่ยวต่อไปเรื่อย ๆ สี่ห้านาทีก้อ คนพลิกเอาข้างล่างขึ้นมาที
เบา ๆ นะครับ เดวเละกลายเปนมะยมกวนไปซะเปล่า ๆ จนได้แบบนี้
ยังครับ ไม่หนำใจ เอาอีก เคี่ยวต่อไปอีก
จนได้ที่เห็นว่า เม็ดใสฉ่ำทั่วเม็ด เริ่มออกแดงระเรื่อแล้ว ก็ จัดการ ราไฟ ตักเอาเม็ดออกมาพักไว้ที่หม้อ
แยกน้ำแยกเนื้อ
น้ำเชื่อมที่เหลือ อย่าทิ้งนะครับ ของอร่อยเลย จัดการ ทุบน้ำแข็งใส่แก้ว ตักน้ำเชื่อมใส่สักสองช้อนกินข้าว
เติมด้วยน้ำเย็นให้เต็มแก้ว คนให้เข้ากัน จะได้น้ำมะยม หวานเปรี้ยวเค็มปะเล่ม ๆ อร่อยมาก ๆ ขอบอก จิบ
เล่น ๆ เย็นชื่นใจ ส่วนเม็ดมะยมที่เชื่อมและทิ้งให้เย็นแล้ว ก็เปนแบบนี้ครับ
มาครับ มาหยิบไปกินกันคนละเม็ดสองเม็ด ไม่ต้องเกรงใจป๋มครับ กินรอ ทองขึ้น ฮ่าฮ่าฮ่า
Posted by Unknown on 6:12 AM
with No comments so far
มะยม * Star gooseberry
ผล ไม้ อย่างมะยมที่มี รสชาติที่เปรี้ยว อร่อย ที่เรานำมารับประทาน ที่ให้ประโยชน์ต่อเรา ด้วยเหมือนกัน ซึ่งเราจะได้รับวิตามิน ซีที่มีอยู่ในมะยม ที่เรารับประทาน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus acidus (L.) Skeels
ชื่อสามัญ : Star Gooseberry
วงศ์ : Euphorbiaceae
ลักษณะ: เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก ถึงขนาดกลาง ซึ่งมีความ สูงประมาณ 3 – 10 เมตร ลำต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้าน สาขาบริเวณปลายยอด กิ่งก้าน จะเปราะ และแตกง่ายมากเลย เปลือกต้นขรุขระ สีเทาปนน้ำตาล
ใบมะยม เป็นใบรวม มีใบย่อย ออกเรียง แบบสลับกันเป็น 2 แถว แต่ละก้าน จะมีใบย่อย อยู่ประมาณ 20 – 30 คู่ ใบรูปขอบขนานกลม หรือค่อนข้าง เป็นสี่เหลี่ยม ขนมเปียกปูนปลายใบแหลม ฐานใบกลมหรือมน ขอบใบเรียบ
ดอกของมะยม ออกเป็นช่อตามกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง อมน้ำตาลเรื่อๆ
ผลมะยม เมื่ออ่อนสีเขียว เมื่อผลเริ่ม แก่จะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง หรือขาวแกมเหลือง เนื้อฉ่ำน้ำ เมล็ด รูปร่างกลม แข็ง มีสีน้ำตาลอ่อน 1 เมล็ด
ส่วนที่ใช้ : ใบตัวผู้ ผลตัวเมีย รากตัวผู้
สรรพคุณ :
ใบตัวผู้ - สามารถนำมาใช้ ในการแก้พิษคัน แก้พิษไข้หัว เหือด หัด สุกใส ดำแดง ปรุงในยาเขียว และ ใช้เป็นอาหารได้ อีกด้วย
ผลตัวเมีย – สามารถนำมา ใช้เป็นอาหาร เพื่อรับประทาน
รากตัวผู้ - นำมาใช้ ในการแก้ไข้ แก้โรคผิวหนัง แก้ประดง แก้เม็ดผื่นคัน ช่วยในการ ขับน้ำเหลือง ให้แห้ง เร็วมากขึ้นกว่าเดิม
วิธีและปริมาณที่ใช้ : ใช้ใบตัวผู้ หรือ รากตัวผู้ นำมาใช้ ต้มน้ำดื่ม
มะยมนอกจาก ว่าเราจะนำมารับประทาน ผลแล้วเรายังสามารถ นำเอาส่วนต่างๆ ขอต้นมะยมนำมาใช้ในการ รักษาโรค ได้หลายอย่างเลย เห็นไหมล่ะว่า มะยมมีประโยชน์ มากเลยล่ะ หากว่าเรา มีอาการที่เกิดขึ้นมา เราก็สามารถนำเอามะยม มาใช้ในการดูแลรักษา ร่างกายของเราได้ นอกเหนือจาก ที่เรานำมารับประทาน เพียงเท่านั้นเอง
ขอบคุณบทความจาก : rspg.or.th
ผล ไม้ อย่างมะยมที่มี รสชาติที่เปรี้ยว อร่อย ที่เรานำมารับประทาน ที่ให้ประโยชน์ต่อเรา ด้วยเหมือนกัน ซึ่งเราจะได้รับวิตามิน ซีที่มีอยู่ในมะยม ที่เรารับประทาน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus acidus (L.) Skeels
ชื่อสามัญ : Star Gooseberry
วงศ์ : Euphorbiaceae
ลักษณะ: เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก ถึงขนาดกลาง ซึ่งมีความ สูงประมาณ 3 – 10 เมตร ลำต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้าน สาขาบริเวณปลายยอด กิ่งก้าน จะเปราะ และแตกง่ายมากเลย เปลือกต้นขรุขระ สีเทาปนน้ำตาล
ใบมะยม เป็นใบรวม มีใบย่อย ออกเรียง แบบสลับกันเป็น 2 แถว แต่ละก้าน จะมีใบย่อย อยู่ประมาณ 20 – 30 คู่ ใบรูปขอบขนานกลม หรือค่อนข้าง เป็นสี่เหลี่ยม ขนมเปียกปูนปลายใบแหลม ฐานใบกลมหรือมน ขอบใบเรียบ
ดอกของมะยม ออกเป็นช่อตามกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง อมน้ำตาลเรื่อๆ
ผลมะยม เมื่ออ่อนสีเขียว เมื่อผลเริ่ม แก่จะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง หรือขาวแกมเหลือง เนื้อฉ่ำน้ำ เมล็ด รูปร่างกลม แข็ง มีสีน้ำตาลอ่อน 1 เมล็ด
ส่วนที่ใช้ : ใบตัวผู้ ผลตัวเมีย รากตัวผู้
สรรพคุณ :
ใบตัวผู้ - สามารถนำมาใช้ ในการแก้พิษคัน แก้พิษไข้หัว เหือด หัด สุกใส ดำแดง ปรุงในยาเขียว และ ใช้เป็นอาหารได้ อีกด้วย
ผลตัวเมีย – สามารถนำมา ใช้เป็นอาหาร เพื่อรับประทาน
รากตัวผู้ - นำมาใช้ ในการแก้ไข้ แก้โรคผิวหนัง แก้ประดง แก้เม็ดผื่นคัน ช่วยในการ ขับน้ำเหลือง ให้แห้ง เร็วมากขึ้นกว่าเดิม
วิธีและปริมาณที่ใช้ : ใช้ใบตัวผู้ หรือ รากตัวผู้ นำมาใช้ ต้มน้ำดื่ม
มะยมนอกจาก ว่าเราจะนำมารับประทาน ผลแล้วเรายังสามารถ นำเอาส่วนต่างๆ ขอต้นมะยมนำมาใช้ในการ รักษาโรค ได้หลายอย่างเลย เห็นไหมล่ะว่า มะยมมีประโยชน์ มากเลยล่ะ หากว่าเรา มีอาการที่เกิดขึ้นมา เราก็สามารถนำเอามะยม มาใช้ในการดูแลรักษา ร่างกายของเราได้ นอกเหนือจาก ที่เรานำมารับประทาน เพียงเท่านั้นเอง
ขอบคุณบทความจาก : rspg.or.th
https://www.facebook.com/pichappy
Posted by Unknown on 6:10 AM
with 1 comment so far
แหล่ง เรียนรู้ในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยที่ข้าพเจ้าสนใจอยากที่จะศึกษาคือ ต้นมะยม ซึ่งอยู่ในบริเวณด้านข้างเสาธงหรืออยู่บริเวณลานหน้าอนุสาวรีย์สมเด็จพระสุ ริโยทัย ซึ่งมีอยู่จำนวนหนึ่งต้นในโรงเรียนซึ่งต้นมะยมต้นนี้ก็มีขนาดไม่ใหญ่มาก ที่ข้าพเจ้าสนใจเลือกที่จะศึกษาต้นมะยมนี้เพราะว่าข้าพเจ้ามีความชอบส่วนตัว อยู่แล้ว คือชอบรับประทานผลมะยมกับพริกเกลือ และชื่อของต้นมะยมมีชื่อเป็นมงคลนาม ปลูกแล้วผู้คนจะได้นิยมเหมือนมีนะเมตตา มหานิยม ต้นมะยมก็มีความเชื่อทางด้านไสยศาสตร์ โชคลาภ ซึ่งคนไทยในสมัยก่อนจะเชื่อกันว่าเมื่อเราปลูกต้นมะยมป้องกันและขจัดสิ่ง ชั่วร้ายได้จึงนำมาใช้ในพิธีปัดรังควาน
ชื่อวิทยาศาสตร์
Phyllanthus acidus Skeels
ชื่อวงศ์
EUPHORBIACEAE
ชื่อสามัญ
Star Gooseberry
ชื่อท้องถิ่น
•ทั่วไป เรียก มะยม
•ภาคอีสาน เรียก หมักยม, หมากยม
•ภาคใต้ เรียก ยม
รสและประโยชน์ต่อสุขภาพ : ยอด รสฝาด รสมัน กลิ่นหอม สรรพคุณ ดับพิษไข้ แก้ไข้
ลักษณะทั่วไปของมะยม : มะยมคือพืชพันธุ์ดั้งเดิมถิ่นแหลมทองลำต้นสูงประมาณ ๔ ถึง ๗ เมตร แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือกเป็นปุ่มปมอันเกิดจากแผลเป็นของก้านใบที่ร่วงหล่นไปแล้ว ใบเรียงสลับกันอยู่บริเวณปลายกิ่ง ใบเป็นประเภทขนนก คือมีใบย่อยเรียงอยู่ ๒ ด้านของก้านใบรวมขนาดใหญ่ ยาวประมาณ ๓๐ เซนติเมตร ใบย่อยเป็นรูปไข่เบี้ยว ปลายใบแหลม ก้นใบค่อนข้างกลม ด้านบนใบสีเขียวอ่อน ด้านล่างสีขาวนวลอมเขียว ดอกออกเป็นช่อตามลำต้นและกิ่งก้านที่ไม่มีใบ เป็นดอกไม่สมบูรณ์เพศ ดอกตัวผู้มีมากกว่าดอกตัวเมีย บางครั้งมีเฉพาะดอกตัวผู้ทั้งต้น จึงไม่ติดผลเลย เรียกกันว่า มะยมตัวผู้
http://www.weekendhobby.com/board/photo/picture%5C152254901545.JPG
http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/853/5853/images/mayom1.jpg
http://www.niyommit.org/botanic/plant/028mayom/flower.jpg
กลีบดอกขนาดเล็กสีชมพู เมื่อติดผลมักอยู่รวมเป็นพวง ผลค่อนข้างกลม ก้นแบน จุกด้านบนบริเวณก้านผลบุ๋มลงไป ด้านข้างผลมีลักษณะเป็นพูมนๆ ๖ ถึง ๘ พู ผิวของผลดิบจะมีสีเขียวอ่อนบาง มีน้ำในผลมากเช่นเดียวกับตะลิงปลิงและมะเฟือง ผลสุกผิวจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองน้ำตาลอ่อน เนื้ออ่อนนุ่มและไม่ฉ่ำน้ำมากเหมือนตอนดิบ เมล็ดในผลมีลักษณะเป็นพูๆ เช่นเดียวกับผล มีสีน้ำตาล ผลละหนึ่งเมล็ด หากสังเกตชื่อวิทยาศาสตร์ของมะยม จะพบว่าชื่อชนิดคือ acidus หมายถึง กรด คงมาจากลักษณะผลฉ่ำน้ำของมะยมนั่นเอง เพราะมะยมดิบมีน้ำมาก น้ำมะยมนั้นมีกรดอยู่มากจึงมีรสเปรี้ยวจัด เป็นลักษณะเด่นของมะยม ปกติมะยมจะมีรสเปรี้ยว แต่มะยมบางต้นผลจะมีรสจืด เพราะมีกรดน้อย เรียกกันว่ามะยมหวาน ความจริงไม่มีรสหวานเลย น่าจะเรียกว่ามะยมจืดมากกว่า เชื่อว่าถิ่นกำเนิดดั้งเดิมของมะยมอยู่ในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือที่คนไทยเคยเรียกว่าถิ่นแหลมทองนี้เอง จึงนับว่ามะยมเป็นพืชคู่บ้านคู่เมืองของคนไทยมาตั้งแต่เดิม คนไทยจึงมีความผูกพันกับมะยมมาเนิ่นนานและลึกซึ้งในหลายๆด้าน
ชื่อวิทยาศาสตร์
Phyllanthus acidus Skeels
ชื่อวงศ์
EUPHORBIACEAE
ชื่อสามัญ
Star Gooseberry
ชื่อท้องถิ่น
•ทั่วไป เรียก มะยม
•ภาคอีสาน เรียก หมักยม, หมากยม
•ภาคใต้ เรียก ยม
รสและประโยชน์ต่อสุขภาพ : ยอด รสฝาด รสมัน กลิ่นหอม สรรพคุณ ดับพิษไข้ แก้ไข้
ลักษณะทั่วไปของมะยม : มะยมคือพืชพันธุ์ดั้งเดิมถิ่นแหลมทองลำต้นสูงประมาณ ๔ ถึง ๗ เมตร แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือกเป็นปุ่มปมอันเกิดจากแผลเป็นของก้านใบที่ร่วงหล่นไปแล้ว ใบเรียงสลับกันอยู่บริเวณปลายกิ่ง ใบเป็นประเภทขนนก คือมีใบย่อยเรียงอยู่ ๒ ด้านของก้านใบรวมขนาดใหญ่ ยาวประมาณ ๓๐ เซนติเมตร ใบย่อยเป็นรูปไข่เบี้ยว ปลายใบแหลม ก้นใบค่อนข้างกลม ด้านบนใบสีเขียวอ่อน ด้านล่างสีขาวนวลอมเขียว ดอกออกเป็นช่อตามลำต้นและกิ่งก้านที่ไม่มีใบ เป็นดอกไม่สมบูรณ์เพศ ดอกตัวผู้มีมากกว่าดอกตัวเมีย บางครั้งมีเฉพาะดอกตัวผู้ทั้งต้น จึงไม่ติดผลเลย เรียกกันว่า มะยมตัวผู้
http://www.weekendhobby.com/board/photo/picture%5C152254901545.JPG
http://www.niyommit.org/botanic/plant/028mayom/flower.jpg
กลีบดอกขนาดเล็กสีชมพู เมื่อติดผลมักอยู่รวมเป็นพวง ผลค่อนข้างกลม ก้นแบน จุกด้านบนบริเวณก้านผลบุ๋มลงไป ด้านข้างผลมีลักษณะเป็นพูมนๆ ๖ ถึง ๘ พู ผิวของผลดิบจะมีสีเขียวอ่อนบาง มีน้ำในผลมากเช่นเดียวกับตะลิงปลิงและมะเฟือง ผลสุกผิวจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองน้ำตาลอ่อน เนื้ออ่อนนุ่มและไม่ฉ่ำน้ำมากเหมือนตอนดิบ เมล็ดในผลมีลักษณะเป็นพูๆ เช่นเดียวกับผล มีสีน้ำตาล ผลละหนึ่งเมล็ด หากสังเกตชื่อวิทยาศาสตร์ของมะยม จะพบว่าชื่อชนิดคือ acidus หมายถึง กรด คงมาจากลักษณะผลฉ่ำน้ำของมะยมนั่นเอง เพราะมะยมดิบมีน้ำมาก น้ำมะยมนั้นมีกรดอยู่มากจึงมีรสเปรี้ยวจัด เป็นลักษณะเด่นของมะยม ปกติมะยมจะมีรสเปรี้ยว แต่มะยมบางต้นผลจะมีรสจืด เพราะมีกรดน้อย เรียกกันว่ามะยมหวาน ความจริงไม่มีรสหวานเลย น่าจะเรียกว่ามะยมจืดมากกว่า เชื่อว่าถิ่นกำเนิดดั้งเดิมของมะยมอยู่ในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือที่คนไทยเคยเรียกว่าถิ่นแหลมทองนี้เอง จึงนับว่ามะยมเป็นพืชคู่บ้านคู่เมืองของคนไทยมาตั้งแต่เดิม คนไทยจึงมีความผูกพันกับมะยมมาเนิ่นนานและลึกซึ้งในหลายๆด้าน
Subscribe to:
Posts (Atom)